KBank Private Banking (เคแบงก์ ไพรเวทแบงกิ้ง) เดินหน้าตอกย้ำตำแหน่งผู้นำบริ
นายจิรวัฒน์ สุภรณ์ไพบูลย์ Executive Chairman, Private Banking Group ธนาคารกสิกรไทย เปิดเผยว่า ธนาคารกสิกรไทยถือเป็นผู้ให้บริ
นายพีระพัฒน์ เหรียญประยูร Managing Director, Wealth Planning and Non Capital Market Head, Private Banking Group ธนาคารกสิกรไทย กล่าวเพิ่มเติมว่า เพื่อลดช่
1) Foreign Account Tax Compliance Act (FATCA) เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางภาษี
2) Common Reporting Standards (CRS) เป็นระบบการแลกเปลี่ยนข้อมู
โดยในเดือนกันยายน 2561 ประเทศไทยได้เข้าร่วมกรอบความร่
- ภาษีเงินได้ สำหรับคนไทยที่มีเงินได้ในต่
างประเทศ ไม่มีผลกระทบในเรื่องเสียภาษี แต่อย่างใด ในขณะที่บริษัทไทยที่มีรายได้ ในต่างประเทศ ต้องนำมารวมเสียภาษีในไทย หากไม่นำมารวม กรมสรรพากรจะทราบข้อมูลทันที - ภาษีการรับมรดก สำหรับคนไทยที่ได้รับทรัพย์สิ
นที่อยู่ในต่างประเทศ เช่น บัญชีเงินฝาก หุ้น เงินลงทุนต่างๆ เป็นมรดก ต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษี การรับมรดกในไทย กรมสรรพากรจะทราบข้อมูลทันที ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มี การรายงานข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ มีเพียงการรายงานข้อมู ลทางการเงินเท่านั้น - การนำเงินได้ต่างประเทศกลับเข้
าประเทศไทย ตามเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) คนไทยที่มีเงินได้จากการทำธุ รกรรมในต่างประเทศไม่น้อยกว่า 1 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ / ครั้ง ต้องนำกลับเข้าประเทศไทยภายใน 360 วัน นับแต่วันทำธุรกรรม เว้นแต่มีการขอผ่อนผัน ถ้ามีการส่งข้อมูลระหว่างหน่ วยงานรัฐของไทย ธปท. จะทราบทันที หากไม่นำกลับเข้ามาภายในเวลาที่ กำหนด โดยไม่มีการยื่นขอผ่อนผัน
ดังนั้น KBank Private Banking แนะนำให้ขอคำปรึกษา การวางแผนภาษีจากผู้เชี่ยวชาญ โดยผู้เสียภาษี ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิ
นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงด้านภาษีทรัพย์สิ
- ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง – จากการที่กรมธนารักษ์ประกาศใช้
ราคาประเมินที่ดินใหม่สำหรั บรอบปี 2566 –2569 โดยราคาประเมินเฉลี่ยทั่ วประเทศเพิ่มขึ้น 8% ซึ่งจะเริ่มต้นในปีหน้า จะกระทบต่อฐานภาษีที่ใช้ คำนวณภาระภาษีของเจ้าของที่ดิ นซึ่งจะอิงตามราคาประเมินใหม่ การยกเลิกมาตรการปรับลดอัตราจั ดเก็บภาษีที่ดิน 90% ที่ภาครัฐประกาศยกเลิกไปในปีนี้ รวมทั้งการยกเลิกการลดหย่ อนจำนวนภาษีที่ดินฯ ที่ได้บรรเทา ตาม พ.ร.บ. บทเฉพาะกาลในปี 2566 ทำให้เจ้าของที่ดินต้องรั บภาระภาษีที่ดินที่มากขึ้น ทั้งนี้ สำหรับเจ้าของที่ดินในเขตกรุ งเทพฯ ทาง กทม. อยู่ในระหว่างการศึกษาเกณฑ์ การรับที่ดินจากเอกชน เพื่อจัดทำสวนสาธารณะ สนามกีฬาเพื่อผลประโยชน์ทางด้ านภาษีแก่เจ้าของที่ดิน อย่างไรก็ดี ภาครัฐอยู่ระหว่างพิจารณาปรั บเพิ่มอัตราภาษีสำหรับที่ดินที่ ทำการเกษตรในเขตกรุงเทพฯ เช่นเดียวกัน - ภาษีลาภลอย – การจัดเก็บจากมูลค่าที่ดินและห้
องชุดที่ปรับเพิ่มขึ้น ตามแนวก่อสร้างโครงการคมนาคมพื้ นฐานของรัฐ เช่น โครงการรถไฟความเร็วสูง รถไฟทางคู่ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ท่าเรือ สนามบิน โครงการทางด่วนพิเศษ และโครงการอื่น ๆ ในรัศมีไม่เกิน 5 กิโลเมตร โดย ครม. มีมติอนุมัติร่างพ.ร.บ. ภาษีการได้รับประโยชน์นี้ ตั้งแต่ปี 2561 แต่ยังไม่ได้บังคับใช้ อย่างไรก็ดี มีแนวโน้มจะนำกลับมาพิจารณาอี กครั้ง - ภาษีมรดก – การจัดเก็บภาษีมรดกจะเกิดขึ้นก็
ต่อเมื่อเจ้าของมรดกเสียชีวิ ตไปแล้ว ในกรณีที่มรดกมีมูลค่ามากกว่า 100 ล้านบาท โดยจะเรียกเก็บจากผู้รับมรดก ยกเว้นในกรณีที่ผู้รับมรดกเป็ นคู่สมรส แต่ในกรณีที่เป็นบุพการี หรือ ผู้สืบสันดานจะเสียในอัตรา 5% ในขณะที่บุคคลอื่นเสีย 10% โดยทรัพย์สินที่จะถูกเรียกเก็ บภาษีจะต้องเป็นทรัพย์สินที่มี ทะเบียน อาทิ อสังหาริมทรัพย์ บัญชีเงินฝากทั้งในและต่ างประเทศ เป็นต้น - ภาษีการให้ / รับให้ – กฎหมายได้ระบุการให้โดยไม่ต้
องเสียภาษีไว้ โดยแบ่งทรัพย์สินออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) อสังหาริมทรัพย์ พ่อแม่ให้ลูก มูลค่าไม่เกิน 20 ล้านต่อปี โดยลูกสามารถรับโอนอสังหาฯ จากพ่อและแม่ รวมกัน 40 ล้านบาทต่อปี 2) สังหาริมทรัพย์ ในกรณีที่พ่อแม่ให้ลูก มูลค่าไม่เกิน 20 ล้านต่อปี และรับโอนสังหาริมทรัพย์ จากบุคคลอื่น ตามโอกาสพิเศษ มูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาทต่อปี ส่วนที่เกินจะต้องเสียภาษีที่อั ตรา 5% - ทั้งนี้ เพื่อให้การส่งต่อทรัพย์สิ
นในครอบครัว ไม่สร้างภาระให้กับผู้รับมอบ KBank Private Banking แนะนำให้เจ้าของทรัพย์สิ นวางแผนการส่งต่อ เช่น ทยอยส่งมอบทรัพย์สินให้มูลค่ าไม่เกินที่กฎหมายกำหนด การทำพินัยกรรมโดยระบุการส่ งมอบให้ไปถึงรุ่นหลาน การคงทรัพย์สินไว้ในกองมรดก เนื่องจากหากไม่มีการแบ่ งออกจากกองมรดก ภาษีก็ยังไม่เกิด แต่ยังมีประเด็นที่ต้องพิ จารณาในเรื่องดอกผลของทรัพย์ มรดก ว่าถือเป็นมรดกหรือไม่ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระหว่างการพิ จารณาของศาลฎีกา รวมไปถึงการใช้เครื่องมืออย่ างทรัสต์ต่างประเทศ หรือการใช้ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต เป็นต้น - ภาษีการขายหุ้น – เป็นภาษีธุรกิจเฉพาะ เก็บจากธุรกรรมจากการขายหุ้
นในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งกฎหมายกำหนดให้เสียภาษีในอั ตรา 0.1% ของมูลค่าที่ขาย หรือ 0.11 % รวมภาษีท้องถิ่น โดยโบรกเกอร์หักจากรายได้ จากการขายและนำส่งกรมสรรพากรทุ กเดือน แทนผู้ขาย ซึ่งภาษีการขายหุ้นนี้ได้รั บการยกเว้นมาตั้งแต่ปี 2534 ทั้งนี้ KBank Private Banking คาดว่าช่วงเวลานี้อาจจะไม่ใช่ เวลาที่เหมาะสมที่ภาษีนี้จะกลั บมามีผลบังคับใช้
นายพีระพัฒน์ กล่าวปิดท้ายว่า การพัฒนาของระบบการจัดเก็บภาษี
สำหรับผู้ที่สนใจรับชมงานสัมมนา รู้ทันภาษีทรัพย์สินที่เปลี่