22 พฤษภาคม ของทุกปี องค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้ เป็นวันสากลแห่ งความหลากหลายทางชีวภาพ (International Day for Biological Diversity) โดยในปี 2565 ภายใต้แนวคิด Building a shared future for all life สร้างอนาคตร่วมกันเพื่อทุกชีวิต บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เดินหน้าร่วมมือกับคู่ค้าธุรกิ จและเกษตรกรในห่วงโซ่การผลิ ตอาหาร ยุติการบุกรุกและการทำลายป่า เพื่อร่วมสนับสนุนการปกป้ องความหลากหลายทางชีวภาพ และบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นรากฐานการพัฒนาที่ยั่ งยืน รวมทั้งความมั่นคงด้ านอาหารของโลก
นางสาวธิดารัตน์ เดชายนต์บัญชา รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ด้านจัดซื้อพัสดุครุภัณฑ์ ซีพีเอฟ กล่าวว่า ในฐานะเป็นผู้ดำเนินธุรกิ จเกษตรอุ ตสาหกรรมและอาหารครบวงจร เดินหน้าจับมือกับคู่ค้าธุรกิ จและเกษตรกร ยกระดับกระบวนการผลิตตลอดห่ วงโซ่อุปทาน ดำเนินการจัดหาวัตถุดิบและสินค้ าคุณภาพ ปลอดภัยจากกระบวนการผลิตที่รั บผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อยุติการตัดไม้ทำลายป่า ด้วยกระบวนการจัดซื้ออย่างรับผิ ดชอบและมีระบบตรวจสอบย้อนกลับที่ โปร่งใสตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตอบรับเทรนด์ผู้บริโภคที่ให้ ความสำคัญกับการบริโภคที่ยั่งยื น ซีพีเอฟกำหนดเป้าหมายการจั ดหาวัตถุดิบเกษตรหลักที่สำคั ญได้แก่ ข้าวโพด ปลาป่น น้ำมันปาล์ม กากถั่วเหลือง และมันสำปะหลัง ร้อยละ 100 จากทั่วโลกต้องปราศจากการบุกรุ กพื้นที่ป่า ภายในปี 2573 (ค.ศ. 2030) ควบคู่กับการอนุรักษ์และฟื้นฟู พื้นที่ป่า เพื่อร่วมปกป้ องความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็นต้นทางของวัตถุดิ บในการผลิตอาหาร สร้างศักยภาพทางการแข่งขันคู่ค้ าให้เติบโตไปด้วยกัน “เพื่อให้มั่นใจว่าคู่ค้าธุรกิ จและเกษตรกรมีส่วนร่วมในปกป้ องความหลากหลายทางชีวภาพได้ตั้ งแต่ต้นทาง คู่ค้าธุรกิจซีพีเอฟดำเนิ นตามนโยบายการจัดหาที่ยั่งยื นและแนวปฏิบัติสำหรับคู่ค้าธุ รกิจ เพื่อให้คู่ค้าธุรกิจส่งมอบวั ตถุดิบและสินค้าคุณภาพสูง ปลอดภัย สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ว่ ามาจากแหล่งผลิตที่รับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG)” นางสาวธิดารัตน์กล่าว
บริษัทฯ เดินหน้าพัฒนาศักยภาพของคู่ค้ าธุรกิจรวมถึงคู่ค้า SMEs ให้มีความตระหนักและร่วมกันจั ดหาวัตถุดิบที่สามารถตรวจสอบย้ อนกลับได้ถึงแหล่งผลิต รวมทั้งพัฒนาการดำเนินงานสอดคล้ องกับมาตรฐานสากล โดยเชื่อมโยงแนวทาง ESG เข้ามาในกระบวนการบริหารจั ดการตลอดห่วงโซ่อุปทาน สอดคล้องตามนโยบาย “CPF 2030 Sustainability in Action” เพื่อให้คู่ค้าธุรกิจสามารถรั บมือการเปลี่ยนแปลง บริหารจัดการความเสี่ยงที่ อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต อีกทั้งยังถือเป็นการสร้ างโอกาสใหม่ๆ ให้ธุรกิจ ร่วมสร้างการเติบโตไปด้วยกัน ซีพีเอฟยังดำเนินการตรวจประเมิ นและทบทวนความเสี่ยงด้านความยั่ งยืนของคู่ค้าธุรกิจครอบคลุมทุ กกลุ่มวัตถุดิบทั้งในกิ จการประเทศไทย เวียดนามและจีนแล้วครบร้อยละ 100 เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นว่ าตลอดห่วงโซ่อุปทานที่ ปราศจากการตัดไม้ทำลายป่า และปีนี้มีแผนขยายการประเมิ นความเสี่ยงไปยังคู่ค้าธุรกิ จในกิจการต่างประเทศต่อเนื่อง
นอกจากนี้ บริษัทฯ ร่วมมือกับกลุ่มธุรกิจการค้าวั ตถุดิบอาหารสัตว์ในเครือเจริ ญโภคภัณฑ์ (FIT) ในการจัดหาข้าวโพดตรวจสอบย้ อนกลับได้ถึงแหล่งปลูกสำหรับกิ จการผลิตในประเทศไทยทั้งหมด ผ่านระบบ Corn Traceability System ว่าเป็นข้าวโพดพื้นที่มี เอกสารสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมทั้งดำเนิน โครงการ “เกษตรกรพึ่งตน ข้าวโพดยั่งยืน” เพื่อช่วยเกษตรกรมีศั กยภาพในการเพิ่มผลผลิตและลดค่ าใช้จ่าย รวมทั้งมีความเข้าใจการปลูกช่ วยลดการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ควบคู่กันด้วย ปัจจุบันทางบริษัทฯ ยังได้ขยายการตรวจสอบย้อนกลับข้ าวโพดไปยังกิจการต่างประเทศที่ สำคัญ ได้แก่ จีน อินเดีย และเวียดนาม รวมทั้งกิจการของเครือซีพี เช่น เมียนมา เป็นต้น พร้อมทั้งต่อยอดนำเทคโนโลยีบล็ อกเชน (Blockchain Technology) ช่วยยกระดับการตรวจสอบย้อนกลั บของวัตถุดิบข้าวโพดทำได้อย่ างรวดเร็วและเพิ่มความน่าเชื่ อถือมากยิ่งขึ้น สำหรับวัตถุดิบหลักอื่นๆ อาทิ กากถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม ปลาป่น ต้องตรวจสอบย้อนกลับได้ถึงแหล่ งเพาะปลูกและผลิต อาทิ มาตรฐานการผลิตน้ำมันปาล์มที่ยั่ งยืน (Roundtable on Sustainable Palm Oil: RSPO) เป็นต้น
ทั้งนี้ ซีพีเอฟ ยังได้ดำเนินโครงการ “ซีพีเอฟ รักษ์นิเวศ ลุ่มน้ำป่าสัก เขาพระยาเดินธง” มาตั้งแต่ปี 2559 โดยผลสำเร็จจากการดำเนิ